บอกต่อกันไป! โรคกรดไหลย้อน หายได้ เพียงกินผักต้มแบบนี้..!!
1. ผักที่มีฤทธิ์เย็น
บวมหอมต้ม มีฤทธิ์เย็น แนะนำให้ทุกคนที่เป็นโรคกรดไหลย้อนทาน โดยเฉพาะผู้ที่มีสาเหตุจากกรดเกินในกระเพาะอาหารและควรทานให้มากในมื้อเย็น บวบหอมต้มจะช่วยลดอาการแสบท้อง ร้อนท้อง แสบหน้าอก ปวดท้องเหมือนลำไส้ถูกบิดได้
2. ผักสีเขียวที่มีกากใยสูง
เช่น ผักหวานบ้าน, คะน้า, ผักกวางตุ้ง, ผักกาดแก้ว (ผักสลัด), ตำลึง, ผักบุ้ง, บล็อคโครี่ ฯลฯ ผักเหล่านี้ควรทานให้มากในมื้อเช้าและมื้อกลางวัน โดยขณะรับประทาน เน้นบริโภคคำเล็กๆ และเคี้ยวผักเหล่านี้ให้ละเอียดมาก 2 – 3 นาทีต่อ 1 คำ ก่อนกลืนผักให้ใช้ลิ้นช่วยจัดผักให้เป็นชิ้นเล็กๆ แผ่นแบนๆ (ไม่ให้เป็นก้อน) เพื่อเป็นการกระจายกากใย เพราะกากใยในผัก ช่วยซับกรด ดูดซับน้ำตาลส่วนเกิน ทำความสะอาดลำไส้ ช่วยให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหว เปรียบเหมือนเรามีหมอนวด นวดอาหารให้เคลื่อนไหวในลำไส้ บรรเทาอาการท้องผูก ให้มีการขับถ่าย และไล่ลมออกทางทวารหนัก
3. ผักสีขาวที่ย่อยง่าย
ผักสีขาวเป็นผักที่ย่อยง่าย เช่น กะหล่ำปลี ผักกาดขาว ดอกกะหล่ำปลี โตวเหมี่ยว ควรทานให้มากในมื้อเย็น ประโยชน์พิเศษของกะหล่ำปลี นักวิจัยหลายท่านเห็นด้วยกับการใช้กะหล่ำปลี ในการรักษาแผลในกระเพาะอาหาร เพราะกะหล่ำปลีประกอบด้วยซัลเฟอร์ ซึ่งช่วยในขบวนการหายของแผล สมานแผล รักษาการอักเสบ ช่วยซ่อมแซมผิวหนังและช่วยกำจัดสารพิษออกจากร่างกาย (ที่มา : คัดลอกจากหนังสือ “น้ำทิพย์จากธรรมชาติ ทางลัดเพื่อสุขภาพจากผักและผลไม้” โดยทันตแพทย์จักรชัย และทันตแพทย์หญิงภัทรา หน้า 43 พิมพ์ครั้งที่ 4)
4. ผักที่เคี้ยวแล้วเป็นเมือก
ผักเหล่านี้ เมื่อเคี้ยวจะมีน้ำเป็นเมือก เหนี่ยวๆข้นๆออกมา คล้ายกับน้ำราดหน้า กระเพาะปลา เช่น ผักปลัง ผักดอกกระเจี๊ยบ (หาซื้อได้ในร้านขายน้ำพริก) ผักเหล่านี้เหมาะสำหรับคนที่มีสาเหตุจากความเครียด มีกรดเกินในกระเพาะอาหาร โดยรับประทานผักเหล่านี้เป็นคำสุดท้ายของมื้ออาหาร เพื่อให้เมือกเหล่านี้ ไปเคลือบกระเพาะและลำไส้ ป้องกันอาการแสบท้อง ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
5. เม็ดแมงลัก
มีกากใยสูง เหมาะสำหรับดูดซับน้ำตาลส่วนเกิน ทานเม็ดแมงลักตอนที่หิวข้าวและเริ่มแสบท้องในมื้อเช้า บรรเทาไปก่อน และหากในช่วงดึกมีอาการหิวและแสบท้องขึ้นมาอาจจะทานเม็ดแมงลัก เป็นการป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
6. กล้วยน้ำว้า (ผู้ป่วยเบาหวานไม่ควรรับประทาน)
กล้วยน้ำว้า เพราะมีฤทธิ์เย็นในกระเพาะอาหารแต่จะมีฤทธิ์ร้อนที่ลำไส้ในการช่วยย่อยอาหาร ใช้เคลือบลำไส้ได้ดี เพราะจะเป็นเมือกเมื่ออยู่ในลำไส้
คำแนะนำเพิ่มเติม
หากโรคกรดไหลย้อนของท่านมีสาเหตุเกิดจากความเครียด มีกรดเกินในกระเพาะอาหารโดยมีอาการแสบท้อง ร้อนท้องร่วมด้วย เป็นต้น แนะนำให้ทานผักสีเขียวควบคู่กับกะหล่ำปลี ในสัดส่วน มื้อเช้า 80:20 กลางวัน 50:50 เย็น 30 :70 และมื้อเย็นอย่าลืมบวบหอมต้ม
ผักและผลไม้ที่ควรหลีกเลี่ยง
1. ผลไม้ที่มีรสหวาน มีน้ำตาลทุกชนิด เช่น ลำไย เงาะ แตงโม ฯลฯ ผลไม้เหล่านี้ มีน้ำตาลในปริมาณที่สูง เมื่อเรารับประทานเข้าไป น้ำตาลในผลไม้จะมีฤทธิ์เป็นกรดที่ลำไส้เล็ก
2. ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวทุกชนิด มะเขือเทศ แก้วมังกร ฝรั่ง เสาวรส มะนาว เพราะมีวิตามินซีสูง เมื่ออยู่ในกระเพาะอาหารจะมีฤทธิ์เป็นกรด ทำให้จุกท้อง ท้องป่อง และสำหรับคนที่เป็นหนัก จะมีอาการแสบท้องร่วมด้วย
ขอบคุณข้อมูลจาก kaijeaw
1. ผักที่มีฤทธิ์เย็น
บวมหอมต้ม มีฤทธิ์เย็น แนะนำให้ทุกคนที่เป็นโรคกรดไหลย้อนทาน โดยเฉพาะผู้ที่มีสาเหตุจากกรดเกินในกระเพาะอาหารและควรทานให้มากในมื้อเย็น บวบหอมต้มจะช่วยลดอาการแสบท้อง ร้อนท้อง แสบหน้าอก ปวดท้องเหมือนลำไส้ถูกบิดได้
2. ผักสีเขียวที่มีกากใยสูง
เช่น ผักหวานบ้าน, คะน้า, ผักกวางตุ้ง, ผักกาดแก้ว (ผักสลัด), ตำลึง, ผักบุ้ง, บล็อคโครี่ ฯลฯ ผักเหล่านี้ควรทานให้มากในมื้อเช้าและมื้อกลางวัน โดยขณะรับประทาน เน้นบริโภคคำเล็กๆ และเคี้ยวผักเหล่านี้ให้ละเอียดมาก 2 – 3 นาทีต่อ 1 คำ ก่อนกลืนผักให้ใช้ลิ้นช่วยจัดผักให้เป็นชิ้นเล็กๆ แผ่นแบนๆ (ไม่ให้เป็นก้อน) เพื่อเป็นการกระจายกากใย เพราะกากใยในผัก ช่วยซับกรด ดูดซับน้ำตาลส่วนเกิน ทำความสะอาดลำไส้ ช่วยให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหว เปรียบเหมือนเรามีหมอนวด นวดอาหารให้เคลื่อนไหวในลำไส้ บรรเทาอาการท้องผูก ให้มีการขับถ่าย และไล่ลมออกทางทวารหนัก
3. ผักสีขาวที่ย่อยง่าย
ผักสีขาวเป็นผักที่ย่อยง่าย เช่น กะหล่ำปลี ผักกาดขาว ดอกกะหล่ำปลี โตวเหมี่ยว ควรทานให้มากในมื้อเย็น ประโยชน์พิเศษของกะหล่ำปลี นักวิจัยหลายท่านเห็นด้วยกับการใช้กะหล่ำปลี ในการรักษาแผลในกระเพาะอาหาร เพราะกะหล่ำปลีประกอบด้วยซัลเฟอร์ ซึ่งช่วยในขบวนการหายของแผล สมานแผล รักษาการอักเสบ ช่วยซ่อมแซมผิวหนังและช่วยกำจัดสารพิษออกจากร่างกาย (ที่มา : คัดลอกจากหนังสือ “น้ำทิพย์จากธรรมชาติ ทางลัดเพื่อสุขภาพจากผักและผลไม้” โดยทันตแพทย์จักรชัย และทันตแพทย์หญิงภัทรา หน้า 43 พิมพ์ครั้งที่ 4)
4. ผักที่เคี้ยวแล้วเป็นเมือก
ผักเหล่านี้ เมื่อเคี้ยวจะมีน้ำเป็นเมือก เหนี่ยวๆข้นๆออกมา คล้ายกับน้ำราดหน้า กระเพาะปลา เช่น ผักปลัง ผักดอกกระเจี๊ยบ (หาซื้อได้ในร้านขายน้ำพริก) ผักเหล่านี้เหมาะสำหรับคนที่มีสาเหตุจากความเครียด มีกรดเกินในกระเพาะอาหาร โดยรับประทานผักเหล่านี้เป็นคำสุดท้ายของมื้ออาหาร เพื่อให้เมือกเหล่านี้ ไปเคลือบกระเพาะและลำไส้ ป้องกันอาการแสบท้อง ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
5. เม็ดแมงลัก
มีกากใยสูง เหมาะสำหรับดูดซับน้ำตาลส่วนเกิน ทานเม็ดแมงลักตอนที่หิวข้าวและเริ่มแสบท้องในมื้อเช้า บรรเทาไปก่อน และหากในช่วงดึกมีอาการหิวและแสบท้องขึ้นมาอาจจะทานเม็ดแมงลัก เป็นการป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
6. กล้วยน้ำว้า (ผู้ป่วยเบาหวานไม่ควรรับประทาน)
กล้วยน้ำว้า เพราะมีฤทธิ์เย็นในกระเพาะอาหารแต่จะมีฤทธิ์ร้อนที่ลำไส้ในการช่วยย่อยอาหาร ใช้เคลือบลำไส้ได้ดี เพราะจะเป็นเมือกเมื่ออยู่ในลำไส้
คำแนะนำเพิ่มเติม
หากโรคกรดไหลย้อนของท่านมีสาเหตุเกิดจากความเครียด มีกรดเกินในกระเพาะอาหารโดยมีอาการแสบท้อง ร้อนท้องร่วมด้วย เป็นต้น แนะนำให้ทานผักสีเขียวควบคู่กับกะหล่ำปลี ในสัดส่วน มื้อเช้า 80:20 กลางวัน 50:50 เย็น 30 :70 และมื้อเย็นอย่าลืมบวบหอมต้ม
ผักและผลไม้ที่ควรหลีกเลี่ยง
1. ผลไม้ที่มีรสหวาน มีน้ำตาลทุกชนิด เช่น ลำไย เงาะ แตงโม ฯลฯ ผลไม้เหล่านี้ มีน้ำตาลในปริมาณที่สูง เมื่อเรารับประทานเข้าไป น้ำตาลในผลไม้จะมีฤทธิ์เป็นกรดที่ลำไส้เล็ก
2. ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวทุกชนิด มะเขือเทศ แก้วมังกร ฝรั่ง เสาวรส มะนาว เพราะมีวิตามินซีสูง เมื่ออยู่ในกระเพาะอาหารจะมีฤทธิ์เป็นกรด ทำให้จุกท้อง ท้องป่อง และสำหรับคนที่เป็นหนัก จะมีอาการแสบท้องร่วมด้วย
ขอบคุณข้อมูลจาก kaijeaw