“ใบเตย” เชื่อว่าทุกคนมักจะรู้จักเป็นอย่างดี “เตยหอม”
ที่มักถูกนำมาใช้ในอาหารทำอาหาร เพื่อให้อาหารมีกลิ่นหอม
และช่วยให้ขนมไทยมีสีเขียวสวยงาม ซึ่งบางคนอาจจะรู้ว่าประโยชน์ของ “เตยหอม”
ว่ามีสรรพคุณทางยาอีกด้วย
เตยหอมนั้นสามารถนำมาทำเป็น น้ำเตยหอม เป็นเครื่องดื่มได้ เป็นยาบำรุงหัวใจ เพราะใบเตยมีฤทธิ์ลดอัตราการเต้นของหัวใจ จึงช่วยบำรุงหัวใจได้อย่างดี นอกจากนี้ยังจะช่วยดับกระหาย คลายร้อน ทานแล้วรู้สึกสดชื่น และชุ่มคอ
พยุงลำต้นไว้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกเป็นกระจุกเรียงสลับเวียนเป็นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ลักษณะใบยาวเรียวคล้ายใบหอก ปลายใบแหลม บริเวณกลางใบเป็นร่อง ขอบใบเรียบตรง ผิวใบเป็นมัน ด้านท้องใบจะเห็นเป็นรูปคล้ายกระดูกงูเรือใบ มีกลิ่นหอม
ส่วนที่ใช้ : ต้นและราก, ใบสด
– ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย
ใบสด
– ตำพอกโรคผิวหนัง
– รักษาโรคหืด
– น้ำใบเตย ใช้เป็นยาบำรุงหัวใจให้ชุ่มชื่น
– ใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น ให้สีเขียวแต่งสีขนม
-ใช้ต้น 1 ต้น หรือราก ครึ่งกำมือ ต้มกับน้ำดื่ม
-ใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ
-ใช้ใบสดไม่จำกัดผสมในอาหาร ทำให้อาหารมีรสเย็นหอม รับประทานแล้วทำให้หัวใจชุ่มชื่น หรือเอาใบสดมาคั้นน้ำรับประทาน ครั้งละ 2-4 ช้อนแกง
-ใช้เป็นยาแก้เบาหวาน
-ใช้ราก 1 กำมือ ต้มน้ำดื่ม เข้าเย็น
-สารเคมี : สารกลุ่ม anthocyanin
-น้ำสะอาด 5 ถ้วยตวง
-น้ำตาล 2 ช้อนโต๊ะ
-เกลือป่น 1 หยิบมือ
-น้ำแข็ง 1 แก้ว
-ใบเตยสด
-จับต้มซะเลย
2. จากนั้น ใส่น้ำตาล (ถ้าชอบหวานก็เพิ่มน้ำตาลอีกแล้วแต่ความชอบค่ะ) ตามด้วยเกลือป่นที่เตรียมไว้ลงไปในหม้อน้ำใบเตยคนให้ละลาย ลดไฟลงแล้ว ต้มต่อไปอีก 5 นาที แล้วปิดไฟยกลงจากเตาทิ้งไว้ให้เย็น
3. ตักน้ำแข็งใส่แก้ว แล้วตักน้ำเตยหอมลงไป พร้อมเสริฟดื่มแก้กระหาย ชื่นใจหายร้อนค่ะ
ไม่น่าเชื่อเลยนะคะว่าใบเตยจะมีประโยชน์มากมายขนาดนี้ เรียกว่าเป็นยาต้านโรคเลยก็ว่าได้ค่ะ ได้รู้อย่างนี้แล้ว อยากนำใบเตยมาปลูกติดบ้านไว้รอบ ๆ บ้านเลยล่ะคะ
เตยหอมนั้นสามารถนำมาทำเป็น น้ำเตยหอม เป็นเครื่องดื่มได้ เป็นยาบำรุงหัวใจ เพราะใบเตยมีฤทธิ์ลดอัตราการเต้นของหัวใจ จึงช่วยบำรุงหัวใจได้อย่างดี นอกจากนี้ยังจะช่วยดับกระหาย คลายร้อน ทานแล้วรู้สึกสดชื่น และชุ่มคอ
ลักษณะทั่วไปของใบเตย
ใบเตยเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวลักษณะแตกกอเป็นพุ่มขนาดเล็ก ลำต้นเป็นข้อ ใบออกเป็นพุ่มบริเวณปลายยอด เมื่อโตจะมีรากค้ำจุนช่วยพยุงลำต้นไว้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกเป็นกระจุกเรียงสลับเวียนเป็นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ลักษณะใบยาวเรียวคล้ายใบหอก ปลายใบแหลม บริเวณกลางใบเป็นร่อง ขอบใบเรียบตรง ผิวใบเป็นมัน ด้านท้องใบจะเห็นเป็นรูปคล้ายกระดูกงูเรือใบ มีกลิ่นหอม
ส่วนที่ใช้ : ต้นและราก, ใบสด
สรรพคุณ
ต้นและราก– ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย
ใบสด
– ตำพอกโรคผิวหนัง
– รักษาโรคหืด
– น้ำใบเตย ใช้เป็นยาบำรุงหัวใจให้ชุ่มชื่น
– ใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น ให้สีเขียวแต่งสีขนม
วิธีและปริมาณที่ใช้
-ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ-ใช้ต้น 1 ต้น หรือราก ครึ่งกำมือ ต้มกับน้ำดื่ม
-ใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ
-ใช้ใบสดไม่จำกัดผสมในอาหาร ทำให้อาหารมีรสเย็นหอม รับประทานแล้วทำให้หัวใจชุ่มชื่น หรือเอาใบสดมาคั้นน้ำรับประทาน ครั้งละ 2-4 ช้อนแกง
-ใช้เป็นยาแก้เบาหวาน
-ใช้ราก 1 กำมือ ต้มน้ำดื่ม เข้าเย็น
-สารเคมี : สารกลุ่ม anthocyanin
ส่วนผสมที่ต้องเตรียมทำน้ำเตยหอม
-ใบเตยหอมสด 10 ใบ (ล้างให้สะอาดหั่นเป็นท่อน ๆ เตรียมไว้)-น้ำสะอาด 5 ถ้วยตวง
-น้ำตาล 2 ช้อนโต๊ะ
-เกลือป่น 1 หยิบมือ
-น้ำแข็ง 1 แก้ว
-ใบเตยสด
-จับต้มซะเลย
วิธีทำ
1. เทน้ำดื่มสะอาดที่เตรียมไว้ลงหม้อใช้ไฟปานกลาง รอให้น้ำเดือด จึงนำใบเตยที่หั่นเตรียมไว้ลงไป จากนั้นเคี่ยวไปเรื่อยๆ จนสีเขียวของใบเตยเริ่ม ออก จากนั้นกรองใบเตยออกจากหม้อ2. จากนั้น ใส่น้ำตาล (ถ้าชอบหวานก็เพิ่มน้ำตาลอีกแล้วแต่ความชอบค่ะ) ตามด้วยเกลือป่นที่เตรียมไว้ลงไปในหม้อน้ำใบเตยคนให้ละลาย ลดไฟลงแล้ว ต้มต่อไปอีก 5 นาที แล้วปิดไฟยกลงจากเตาทิ้งไว้ให้เย็น
3. ตักน้ำแข็งใส่แก้ว แล้วตักน้ำเตยหอมลงไป พร้อมเสริฟดื่มแก้กระหาย ชื่นใจหายร้อนค่ะ
ไม่น่าเชื่อเลยนะคะว่าใบเตยจะมีประโยชน์มากมายขนาดนี้ เรียกว่าเป็นยาต้านโรคเลยก็ว่าได้ค่ะ ได้รู้อย่างนี้แล้ว อยากนำใบเตยมาปลูกติดบ้านไว้รอบ ๆ บ้านเลยล่ะคะ
สมุนไพรใกล้ตัว มุ่งเสนอสรรพคุณทางยา การนำไปใช้ควรพิจารณาอย่างรอบด้านแหล่งที่มา : kaijeaw