อ่านไว้จะได้รู้ทัน!! สารพิษในหน่อไม้อัดปิ๊บ อันตรายถึงชีวิต
ควรอ่านไว้สักนิด สำหรับใครที่ขอบทานอาหารหมักดอง เพราะสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อชีวิตอย่างมากทางด้านสาธารณสุข ออกประกาศแจ้งเตือนว่า ตรวจพบสารพิษ ชื่อว่า “บูโทลินัม” ที่อยู่ในหน่อไม้อัดปี๊บ-หน่อไม้ต้มบรรจุถุง ล้วนเป็นอันตรายต่อชีวิตที่ทำให้ตายได้ หากจะรับประทานแนะนำว่าให้นำมาต้มใหม่ 15 นาที หากมีกลิ่น สี ที่ดูผิดปกติ อย่าชิมเด็ดขาดควรเททิ้งทันที
ทางด้านนานแพทย์โสภณ เมฆธนอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า “เชื้อคลอสทรีเดียมโบทูลินัม” มีด้วยกัน 4 ชนิด
1.ชนิดเอมีพิษรุนแรง มีความเสี่ยงในการตายถึงร้อยละ 60-70
2.ชนิดบี ทนความร้อนสูง จะมีชีวิตอยู่ในอาหารได้นานกว่าชนิดอื่นๆ ความเสี่ยงการตายร้อยละ 25
3.ชนิดอี ส่วนใหญ่จะพบในอาหารทะเล
4.ชนิดเอฟ พบในอาหารทะเล มีอัตราการตายต่ำ
และอาจจะมีท้องเสียท้องผูก ต่อมากล้ามเนื้อจะเกิดอัมพาต จากใบหน้าลงไปไหล่ตามลำดับ หลังจากรับประทานหน่อไม่อัดปิ๊บแล้วมีอาการเหล่านี้ควรรีบนำส่งโรงพยาลทันที
ทั้งนี้หากมีข้อสงสัย สามารถโทรสอบถามได้ที่
สำนักโรคติดต่อทั่วไป โทร. 0-2590-3180
หรือสายด่วนกรมควบคุมโรค โทร. 1422
ข้อมูลจาก naarn
ควรอ่านไว้สักนิด สำหรับใครที่ขอบทานอาหารหมักดอง เพราะสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อชีวิตอย่างมากทางด้านสาธารณสุข ออกประกาศแจ้งเตือนว่า ตรวจพบสารพิษ ชื่อว่า “บูโทลินัม” ที่อยู่ในหน่อไม้อัดปี๊บ-หน่อไม้ต้มบรรจุถุง ล้วนเป็นอันตรายต่อชีวิตที่ทำให้ตายได้ หากจะรับประทานแนะนำว่าให้นำมาต้มใหม่ 15 นาที หากมีกลิ่น สี ที่ดูผิดปกติ อย่าชิมเด็ดขาดควรเททิ้งทันที
ทางด้านนานแพทย์โสภณ เมฆธนอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า “เชื้อคลอสทรีเดียมโบทูลินัม” มีด้วยกัน 4 ชนิด
1.ชนิดเอมีพิษรุนแรง มีความเสี่ยงในการตายถึงร้อยละ 60-70
2.ชนิดบี ทนความร้อนสูง จะมีชีวิตอยู่ในอาหารได้นานกว่าชนิดอื่นๆ ความเสี่ยงการตายร้อยละ 25
3.ชนิดอี ส่วนใหญ่จะพบในอาหารทะเล
4.ชนิดเอฟ พบในอาหารทะเล มีอัตราการตายต่ำ
วิธีการกำจัด สารพิษ ใน หน่อไม้อัดปี๊บ
สารพิษที่อยู่ในห่อไม้อัดปิ๊บ ทำลายด้วยการต้มให้เดือน 15 นาที หากผู้ที่ได้รับสารพิษชนิดนี้เข้าไป จะมรอาการอ่อนแรง มึนหัว ตาพร่ามัว หนังตาตก ปากแห้งกลืนไม่ได้ หรือพูดลำบากและอาจจะมีท้องเสียท้องผูก ต่อมากล้ามเนื้อจะเกิดอัมพาต จากใบหน้าลงไปไหล่ตามลำดับ หลังจากรับประทานหน่อไม่อัดปิ๊บแล้วมีอาการเหล่านี้ควรรีบนำส่งโรงพยาลทันที
ทั้งนี้หากมีข้อสงสัย สามารถโทรสอบถามได้ที่
สำนักโรคติดต่อทั่วไป โทร. 0-2590-3180
หรือสายด่วนกรมควบคุมโรค โทร. 1422
ข้อมูลจาก naarn