ประโยชน์ดีมาก ข้าวเหนียวดำ ป้องกันการเกิดมะเร็ง อัมพฤกษ์ ลดคลอเลสเตอรอลได้
ข้าวก่ำ หรือ ข้าวเหนียวดำ มีสารอาหารที่ช่วยบำรุงเลือดและบำรุงธาตุ ทำให้ร่างกายทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ร่างกายจึงสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ หรือบำบัดอาการของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยตัวเอง
โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับความเสื่อม ต้านมะเร็ง อัมพฤกษ์ โรคหัวใจ ความดันโลหิต ลดคลอเรสเตอรอล เส้นเลือดตีบ โรคเก๊าท์ ไมเกรน ลดความเครียด ช่วยให้นอนหลับ แก้ปัญหาวัยทอง ปวดประจำเดือน และสมรรถภาพเพศชาย ซึ่งมีคุณสมบัติในการต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน สามารถลดคลอเลสเตอรอล,ไตรกลีเซอร์ และยังเพิ่มระดับของ high density lipoprotien (HDL) ในเลือดด้วย
นอกจากนี้จะช่วยกระตุ้นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย ทำให้ร่างกายทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นร่างกายจึงสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆรวม ทั้งมีผลในการป้องกันการเกิดมะเร็ง อัมพฤกษ์ โรคหัวใจ ความดันโลหิต เส้นเลือดตีบ โรคเก๊าท์ไมเกรน ลดความเครียด ช่วยให้นอนหลับแก้ปัญหาวัยทองและปวดประจำเดือน
ข้าวเหนียวดำนั้นยังมีสารแอนโทไซยานิน ซึ่งมีงานวิจัยระบุว่าสามารถลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้ ในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดได้ในหญิงวัยกลางคน ( อายุระหว่าง 25 – 42 ปี)
ที่มา Chomphoonut Panomai Clubคนรักสุขภาพ
ข้าวก่ำ หรือ ข้าวเหนียวดำ มีสารอาหารที่ช่วยบำรุงเลือดและบำรุงธาตุ ทำให้ร่างกายทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ร่างกายจึงสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ หรือบำบัดอาการของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยตัวเอง
โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับความเสื่อม ต้านมะเร็ง อัมพฤกษ์ โรคหัวใจ ความดันโลหิต ลดคลอเรสเตอรอล เส้นเลือดตีบ โรคเก๊าท์ ไมเกรน ลดความเครียด ช่วยให้นอนหลับ แก้ปัญหาวัยทอง ปวดประจำเดือน และสมรรถภาพเพศชาย ซึ่งมีคุณสมบัติในการต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน สามารถลดคลอเลสเตอรอล,ไตรกลีเซอร์ และยังเพิ่มระดับของ high density lipoprotien (HDL) ในเลือดด้วย
นอกจากนี้จะช่วยกระตุ้นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย ทำให้ร่างกายทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นร่างกายจึงสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆรวม ทั้งมีผลในการป้องกันการเกิดมะเร็ง อัมพฤกษ์ โรคหัวใจ ความดันโลหิต เส้นเลือดตีบ โรคเก๊าท์ไมเกรน ลดความเครียด ช่วยให้นอนหลับแก้ปัญหาวัยทองและปวดประจำเดือน
ข้าวเหนียวดำนั้นยังมีสารแอนโทไซยานิน ซึ่งมีงานวิจัยระบุว่าสามารถลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้ ในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดได้ในหญิงวัยกลางคน ( อายุระหว่าง 25 – 42 ปี)
ที่มา Chomphoonut Panomai Clubคนรักสุขภาพ