แจกสูตรหุงข้าวเหนียว แช่เย็นยังไงก็ไม่แข็ง ทิ้งค้างคืนก็ยังนุ่ม...น่าทาน
ถ้าพูดถึง ข้าวเหนียว ก็นึกจินตนาการเลยว่าต้องร้อนๆนุ่มๆ ยิ่งถ้าได้หมูฝอย หรือไก่ทอดสักชิ้น พร้อมส้มตำนี่ ไม่ต้องพูดถึงกันเลยทีเดียว ว่าจะมีความอร่อยมากแค่ไหน
วันนี้พูดถึงข้าวเหนียวล่ะ เรามาดูดีกว่าว่าเทคนิคง่ายๆที่จะเปลี่ยนข้าวเหนียวที่แข็งๆทำยังไงก็ไม่นิ่มมาฝากกันตามมาดูเลยว่าเค้ามีวิธียังไงกันบ้าง
1. นำข้าวเหนียวเก่า แช่น้ำนาน ประมาณ 6 ชม ส่วนข้าวเหนียวใหม่แช่น้ำนาน 3 ชม.
2. แช่เสร็จแล้วอย่าเอาน้ำแช่ข้าวทิ้งเด็ดขาดสำคัญมาก เค้าเรียกน้ำแช่ข้าว่า “น้ำหม่า” เก็บใส่ชามแช่ตู้เย็นไว้
เสริมความรู้ : น้ำหม่า อันนี้เรียกว่าหัวเชื้อเอาไว้แช่ข้ามในวันต่อไปและนำส่วนที่เหลือเอามาพรมข้าวเหนียวนั่นเอง
4. หลังจากแช่ข้าวเหนียวเสร็จแล้วก็นำมาใส่หวดนึ่งปกติ พอข้าวเกือบจะ น้ำมาใส่หวดนึ่ง ตามปกติ
5. พอข้าวใกล้จะสุกแล้วนำน้ำหม่าที่เก็บไว้ในตู้เย็นมาพรมๆปริมาณ 1/3 ถ้วย แล้วใช้ไม้พายคนจากด้านล่างขึ้นบนทั่วๆเบาๆ
6. หรือจะทำวิธีแบบโบราณก็ได้คือกระดกหวดสัก 2-3 ครั้ง ให้ข้าวเหนียวในหวดผสมกันให้หมดและนึ่งต่อ
7. ทำแบบข้อที่ 6 ไปทั้งหมด 3 ครั้ง โดยกะปริมาณน้ำหม่าให้พอสำหรับ 3 ครั้ง และรอข้าวเหนียวสุกได้ที่
8. หลังจากสุกแล้ว ยกลงจากเตาห้ามเปิดฝาอย่างน้อย 15 นาที หลังจากนั้นก็จัดเก็บข้าวเหนียวตามปกติ
ข้อมูลจาก สถาบันสอนอาชีพชี้ช่องรวย
ถ้าพูดถึง ข้าวเหนียว ก็นึกจินตนาการเลยว่าต้องร้อนๆนุ่มๆ ยิ่งถ้าได้หมูฝอย หรือไก่ทอดสักชิ้น พร้อมส้มตำนี่ ไม่ต้องพูดถึงกันเลยทีเดียว ว่าจะมีความอร่อยมากแค่ไหน
วันนี้พูดถึงข้าวเหนียวล่ะ เรามาดูดีกว่าว่าเทคนิคง่ายๆที่จะเปลี่ยนข้าวเหนียวที่แข็งๆทำยังไงก็ไม่นิ่มมาฝากกันตามมาดูเลยว่าเค้ามีวิธียังไงกันบ้าง
1. นำข้าวเหนียวเก่า แช่น้ำนาน ประมาณ 6 ชม ส่วนข้าวเหนียวใหม่แช่น้ำนาน 3 ชม.
2. แช่เสร็จแล้วอย่าเอาน้ำแช่ข้าวทิ้งเด็ดขาดสำคัญมาก เค้าเรียกน้ำแช่ข้าว่า “น้ำหม่า” เก็บใส่ชามแช่ตู้เย็นไว้
เสริมความรู้ : น้ำหม่า อันนี้เรียกว่าหัวเชื้อเอาไว้แช่ข้ามในวันต่อไปและนำส่วนที่เหลือเอามาพรมข้าวเหนียวนั่นเอง
4. หลังจากแช่ข้าวเหนียวเสร็จแล้วก็นำมาใส่หวดนึ่งปกติ พอข้าวเกือบจะ น้ำมาใส่หวดนึ่ง ตามปกติ
5. พอข้าวใกล้จะสุกแล้วนำน้ำหม่าที่เก็บไว้ในตู้เย็นมาพรมๆปริมาณ 1/3 ถ้วย แล้วใช้ไม้พายคนจากด้านล่างขึ้นบนทั่วๆเบาๆ
6. หรือจะทำวิธีแบบโบราณก็ได้คือกระดกหวดสัก 2-3 ครั้ง ให้ข้าวเหนียวในหวดผสมกันให้หมดและนึ่งต่อ
7. ทำแบบข้อที่ 6 ไปทั้งหมด 3 ครั้ง โดยกะปริมาณน้ำหม่าให้พอสำหรับ 3 ครั้ง และรอข้าวเหนียวสุกได้ที่
8. หลังจากสุกแล้ว ยกลงจากเตาห้ามเปิดฝาอย่างน้อย 15 นาที หลังจากนั้นก็จัดเก็บข้าวเหนียวตามปกติ
ข้อมูลจาก สถาบันสอนอาชีพชี้ช่องรวย