รักษาโรคนิ้วล็อค กับ 7 ขั้นตอน ง่ายมากๆ สามารถทำเองได้!

อาการนิ้วล็อคเกิดจากนิ้วที่ล็อคแล้วไม่สามารถกลับมาเหยียบตรงได้ เป็นการอักเสบของกล้ามเนื้อที่นิ้ว และเอ็นทำให้ไม่สามารถยืดได้ตามปกติ น้ำหมักจะเกิดกัดนิ้วโป้งนิ้วกลางหรือนิ้วนาง และสาเหตุที่ทำให้เกิดนั้นก็เป็นการที่เรานั้นใช้งานนิ้วหนัก ไม่ว่าจะเป็นการถือหรือการแบกของนานๆ หรือกดโทรศัพท์นานๆ ทำให้นิ้วนั้นอยู่ท่าเดิมนานเกินไปและทำให้เกิดนิ้วล็อคได้ นอกจากนั้นผู้ที่สูบบุหรี่ก็เกิดอาการนิ้วล็อคได้เหมือนกันโดยการที่ใช้นิ้วโป้งน้ำจุดไฟแช็คบ่อยๆ แต่รู้หรือไม่ว่าอาการนิ้วล็อคนั้นจะพบได้ในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย แล้ววันนี้เราก็มีวิธีขั้นตอนง่ายๆที่จะรักษานิ้วล็อกหรือบรรเทาอาการนิ้วล็อคได้มาฝากกันค่ะ เพียงแค่ 7 ขั้นตอนง่ายๆเท่านั้นเอง

ขั้นตอนที่ 1

ให้เรานำมือไปแช่น้ำอุ่นเพื่อทำให้กล้ามเนื้อและเอ็นขายตัว โดยที่เรานั้นจะต้องแช่ตั้งแต่ปลายนิ้วจนถึงข้อศอกและกำมือแบมือสลับกันไปเพื่อบริหารมือด้วยในระหว่างแช่

ขั้นตอนที่ 2

เป็นการรูดนิ้วขั้นตอนนี้เป็นการคลายกล้ามเนื้อที่นิ้วและเส้นเอ็น ดูอุปกรณ์ที่เราต้องหามาใช้ในขั้นตอนนี้ก็คือ น้ำมันนวด แต่ถ้าหากไม่มีให้เราใช้ยาหม่องแทนก็ได้ค่ะ ทาให้ทั่วแขนตั้งแต่ศอกลงไปถึงมือ ออกแรงบีบแล้วกรรมจากนั้นก็ลูบไปตามนิ้วมือทำ 3-4 รอบ

ขั้นตอนที่ 3

บีบแขนขย่ำมือ มันจะเป็นการที่ทำให้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อแขนและกล้ามเนื้อมือ และทำให้มันอ่อนตัวลง ให้เรานั้นใช้มือทำท่าลักษณะปากเป็ด วางที่บริเวณใกล้ๆข้อศอกบีบแล้วรูด

ขั้นตอนที่ 4

เป็นเป็นขั้นตอนการคลึงแขน เริ่มจากให้เรานั้นนำนิ้วโป้งของเรากดลงไปที่บริเวณกล้ามเนื้อจากนั้นก็คือให้เป็นวงกลมไปเรื่อยๆเริ่มจากข้อศอกด้านใน

ขั้นตอนที่ 5

การกดมือคลึงนิ้ว เป็นการผ่อนคลายเส้นเอ็นที่บริเวณนิ้วของเรา วิธีการทำนิกเกิลคือ ให้กดเนื้อข้อมือขึ้นมาเล็กน้อยจากนั้นก็ค้างไว้ 5 วิ ทำซ้ำๆไล่ขึ้นมาจนถึงบริเวณนิ้วโดยที่เริ่มจากคนนิ้วก้อยนะคะค่อยๆใช้นิ้วโป้งคลึง ทำให้ทั่ว

ขั้นตอนที่ 6

กลับมารูดนิ้วอีกครั้ง มันก็จะคล้ายๆกับขั้นตอนที่ 2 แต่มันจะเป็นการปิดการรักษา ให้เราใช้มืออีกข้างโอบรอบนิ้วจากนั้นก็บีบและรูปทำให้ครบทุกๆนิ้ว

ขั้นตอนที่ 7

การกรีดนิ้ว โดยให้ทำพร้อมกันทั้งสองข้างจีบลงไปเรื่อยๆ ขั้นตอนนี้จะเป็นการบริหารนิ้วมือของเราให้มีการเคลื่อนไหวที่ดีขึ้น

หากใครที่เป็นอยู่ก็ลองรักษาตามดูนะคะ แล้วอาการก็จะค่อยๆดีขึ้นลดอาการปวด แต่อาจจะทำแป๊บเดียวไม่ได้ต้องทำต่อเนื่องกันไปถึงจะเห็นผล หมั่นดูแลรักษาเป็นประจำ และให้เราหลีกเลี่ยงการใช้งานมือหนักหนัก ต้องผ่อนคลายเสียบ้าง โรคนี้ก็ค่อยทุเลาลงและดีขึ้นอย่างแน่นอน