“ผู้ใช้รถไม่ค่อยรู้”ต่อพ.ร.บ.ทุกปีสามารถเบิกเงินได้ 3 แสน
“ผู้ ใช้ รถไม่ค่ อ ยรู้” ต่อ พ.ร.บ. ทุ กปี สามา ร ถเบิกเ งิ นได้ 3 แ ส น
พ.ร.บ.รถยนต์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ใช้รถต้องทำ เป็นการประกันภัยรถยนต์
ภาคบังคับ ซึ่งกฏหมายบังคับให้รถทุกคันต้องทำประกัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้
ประสบภั ยจากรถเพื่อให้ความคุ้มครองกับตัวบุคคลที่ได้รับผลจาก
‘อุบัติเหตุ’ โดยไม่คำนึงถึงว่าบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากอุ บั ติ เ ห ตุ
เหล่านั้นจะเป็นผู้ที่กระทำความผิดหรือไม่
หากรถยนต์ของเราไม่มี พ.ร.บ. มีโท ษปรับไม่เกิน 10,000 บาท และ
เจ้าของรถต้องเก็บ รั ก ษ าหลักฐานการมีประกันนี้ไว้พร้อมแสดงต่อเจ้า
หน้าที่ทุกเวลาที่ใช้รถยนต์ด้วย หลายคนก็คงอยากจะรู้ว่าเราจะได้
ประโยชน์อะไรจากการจ่ายเงินให้กับส่วนนี้ วันนี้เราจะมาบอกประโยชน์
ของการทำ พ.ร.บ. ให้ทุกคนได้ทราบกัน
การคุ้มครองนั้นมีหลายกรณี และครอบคลุมสามารถใช้เบิกได้ดังนี้
1. ค่ารักษาพยาบาลจากกาs บ า ด เ จ็ บ ซึ่งจะมีการจ่าย
ต ามจริงสูงสุดไม่เกิน 30,000 บาท/คน
2. การเ สี ยชี วิ ตหรือสู ญเสี ยอ วัย วะหรือ ‘ทุพพลภาพ’ อย่างถาวร
จะได้รับเงิน 35,000 บาท/คน และถ้าหาก เ สี ย ห า ย จาก
ข้อ 1 ข้อ 2 นั้นและจะต้องได้ไม่เกิน 65,000 บาท/คน
โดยทั้งหมดนี้ คือ การจ่ายค่าสินไหมทดแทนซึ่งผู้ค้ำประกันนั้นจะได้รับ
ภายหลังจากที่มีการพิสูจน์แล้วว่าผู้ประกันไม่ได้เป็นฝ่ายผิดต าม
กฎหมายแต่อย่างใดนอกจากนี้จะมีวงเงินคุ้มครองรวมกับค่า
เ สี ย ห า ย เบื้องต้นกรณีเป็นฝ่ายถูก ดังนี้
1.สำหรับค่า รั ก ษ า พยาบาลจากการ บ า ด เ จ็ บ นั้นจะ
ได้สูงสุดไม่เกิน 80,000 บาท/คน
2.การ เ สี ย ชี วิ ต หรือ ทุ พ พ ล ภ า พ อย่างถาวร 300,000 บาท/คน
3.สำหรับการ สู ญ เ สี ย อวัยวะ
3.1ซึ่งถ้าหากมีการ สู ญ เ สี ย ตั้งแต่ข้อมือหรือแขนหรือเท้าหรือตั้งแต่
ข้อเท้าหรือขาวหรือ ต า บ อ ด อย่างใดอย่างหนึ่งรวมกันเป็น 2 กรณี
ขึ้นไปจะได้รับเงินประมาณ 300,000 บาท
3.2 สู ญ เ สี ย มือตั้งแต่ข้อมือ หรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้า หรือขา
หรือสา ย ต า หรือ หูห น ว ก เป็นใบ้ หรือเ สี ยความสามารถในการพูดหรือ
ลิ้น ข าด สู ญ เ สียอ วั ย ว ะ สืบพั น ธุ์หรืออวัยวะอื่นใด จะได้รับเงิน
250,000 บาท
3.3 สำหรับผู้ สู ญ เ สี ย นิ้วตั้งแต่ข้อนิ้วขึ้นไปไม่ว่าจะเป็น
นิ้วได้หรือหลากหลายนิ้ว จะได้รับเงิน 200,000 บาท
4. ค่าชดเชยการ รั ก ษ า ตัว กรณีผู้ ป่ ว ย ใน 200 บาทต่อวัน
แต่ไม่เกิน 20 วัน หรือไม่เกิน 4,000 บาท
5. จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุดรวมกันต้องไม่เกิน 304,000 บาท
6. วงเงินคุ้มครองความรับผิดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง
สำหรับรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 ต่อครั้ง
7 วงเงินคุ้มครองความรับผิดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง
สำหรับรถยนต์เกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 ต่อครั้ง
สำหรับเอกสารที่ต้องใช้เวลาในการเครม พ.ร.บ. ก็จะมีดังนี้
1. ในกรณี บ า ด เ จ็ บ
-สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
-ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับกรณีเบิกค่าชดเชย หรือ ผู้ ป่ ว ย ใน
-สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
-ใบรับรองแพทย์ หนังสือรับรองการ รั ก ษ า ตัวเป็นผู้ ป่ ว ยใน
2.ในกรณี ทุ พ พ ล ภ า พ
-สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
-ใบรับรองแพทย์และหนังสือรับรองความพิ ก า ร
-สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่นที่แสดง
ว่าผู้นั้นได้รับความ เ สี ย ห า ย จากการประสบภัยจากรถ
3.ในกรณี เ สี ย ชี วิ ต
สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
ใบ ม ร ณ ะ บัตร
สำเนาบัตรประชาชนทายาทสำเนาทะเบียนบ้าน
สำเนาบันทึกประจำวันในคดีของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่นที่
แสดงว่าผู้นั้น เ สี ย ชี วิ ต จากการประสบภั ย จากรถ
เมื่อมีการเตรียมเอกสารเสร็จแล้ว สามารถนำไปยื่นเรื่องขอเบิกเงินได้
จาก บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถยนต์จำกัดได้ทุกสาขาทั่ว
ประเทศ ทางบริษัทจะดำเนินการตรวจสอบและทำการจ่ายเงินคืนภายใน
7 วัน โดยพรบคุ้มครองผู้ เ สี ย ห า ย ในส่วนของคนเท่านั้น
ในส่วนของทรัพย์สินเชื่อรถยนต์นั้นจะไม่ได้รับการคุ้มครอง ดังนั้นผู้ขับขี่
รถยนต์ควรจะทำประกันภั ยรถยนต์ไว้สำหรับตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นชั้น 1
หรือชั้น 3 ตามแต่ความสะดวก เพื่อลดความเสี่ ยงในค่าจ่ายใช้ และการ
คุ้มครองรถยนต์ที่เป็นทรัพย์สินของท่าน หากเกิด อุ บั ติ เ ห ตุ
ที่มา : bitcoretech