กทม เสนอให้บังคับ! รถมอเตอร์ไซค์ วิ่งได้ไม่เกิน 50 กม. / ชม. หวังช่วยลดอุบัติเหตุ

อุบัติเหตุต่าง ๆ ในช่วงเวลาเทศกาลหรือช่วงเวลาปกติ มีข้อมูลและสถิติที่ยืนยันตรงกันว่า ส่วนใหญ่เกิดจาก ‘จักรยานยนต์’ หรือ ‘รถมอเตอร์ไซค์’ นั่นเองซึ่งเป็นพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด

ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง การบาดเจ็บระดับชาติ ในปี พ.ศ. 2557 พบว่า รถมอเตอร์ไซค์เป็นพาหนะที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บสูงสุด ร้อยละ 83.20 รองลงมาคือ รถกระบะ ร้อยละ 6.56 และรถจักรยานและสามล้อ ร้อยละ 2.91 ในกลุ่มผู้ใช้รถมอเตอร์ไซค์ที่ไม่สมหมวกนิรภัยบาดเจ็บรุนแรง 87.32 แยกเป็นผู้ขับขี่ ร้อยละ 86.13 และผู้โดยสารร้อยละ 93.96 นอกจากนั้น จากข้อมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตทั้งหมด จะพบการสูญเสียในกลุ่มวัย 15-19 ปี ซึ่งเกิดจากการใช้รถมอเตอร์ไซค์

ข้อมูลจากศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน รายงานอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ และสงกรานต์ในปี พ.ศ.2558 พบว่า รถมอเตอร์ไซค์ เป็นยานพาหนะ ที่เกิดจากการบาดเจ็บร้อยละ 83 และเสียชีวิตร้อยละ 64

ซึ่งวันนีิ้ในการประชุมสภากทม. เมื่อวันที่ 1 พ.ค. ที่อาคารไอราวัตพัฒนาศาลาว่าการกทม. 2 นายพรเทพศิริวนารังสรรค์สมาชิกสภากทม. ในฐานะประธานคณะกรรมการวิสามัญศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการเก็บกู้เงินและเสียชีวิตจากการเดินทางไปตามถนนในกรุงเทพฯได้รับรายงานผลการศึกษาต่อที่ประชุมว่า

ในปี 2561 พื้นที่กรุงเทพฯมีผู้เสียชีวิตจากการเดินทางไปท้องถนน 621 รายได้หรือเงินชดเชย 2 รายได้ต่อวันโดยผู้เสียชีวิต 98.71 คณะกรรมการผู้จัดการการศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและข้อเสนอการพัฒนาระบบการ การย้ายส่งต่อผู้ขับขี่, ใช้กล้องซีซีทีวีที่คมชัดเพื่อบังคับใช้กฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส์, การปรับปรุงถนนให้ปลอดภัย, จัดให้มีการใช้ทางวิชาการ ใช้ถนนอย่างปลอดภัยบรรจุในหลักสูตรของสถานศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล, สนับสนุนให้เกิดการใช้รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าโดยกทม. ตั้งงบจัดซื้อรถจักรยานยนต์ใช้น้ำมันคืนจากประชาชนเป็นต้น

นอกจากนี้ยังมีการทดสอบความเร็วรถในเมืองที่มีขนาดไม่เกิน 60 กม. / ชม. รถลากจูงไปได้ 45 กม. / ชม 50 กม. / ชม รถยนต์ที่ได้รับ 80 กม. / ชม และให้การติดตั้งกล้องซีทีวีทีวีรับสัญญาณการประชุมทางไกลต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่ชัดเจนโดยส่งให้ฝ่ายบริหารกทม. ดำเนินการต่อไป

รถมอเตอร์ไซค์ เป็นยานพาหนะยอดฮิตคู่ใจวัยรุ่นเพราะสะดวก ว่องไว แต่เป็นยานพาหนะที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บใดๆ ให้ผู้ขับขี่และเป็นผู้โดยสาร เปรียบเสมือน “เนื้อหุ้มเหล็ก” และเมื่อเกิดอุบัติเหตุก็ย่อมเกิดการบาดเจ็บได้เสมอ ไม่ว่าจะบาดเจ็บเล็กน้อยหรือรุนแรงที่สุด คือ เสียชีวิต
ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ พบว่า กลุ่มอายุ 15-19 ปี เกิดอุบัติเหตุจากรถมอเตอร์ไซค์มากที่สุด และส่วนใหญ่ไม่สวมหมวกนิรภัย เช่นเดียวกับข้อมูลการสำรวจของมูลนิธิไทยโรดส์ และเครือข่ายเฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน ที่พบว่า ในปี 2557 การสวมหมวกนิรภัยในกลุ่มวัยรุ่นทั้งผู้ขับขี่และผู้โดยสารมีเพียงร้อยละ 24

พฤติกรรมเสี่ยงภัยอุบัติเหตุ
อุบัติเหตุทางถนนที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นช่วงเทศกาลของวันหยุดยาว หรือช่วงเวลาปกติ ส่วนใหญ่เกิดจากความประมาทของผู้ขับขี่เอง คือ
1.เมาแล้วขับ หรือมีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
2.แว้น ซิ่ง ขับรถเร็ว ด้วยความคึกคะนอง
3.ไม่สวมหมวกนิรภัย
4.ตัดหน้าระยะกระชั้นชิด
5.เล่นมือถือขณะขับขี่

ความสูญเสียที่เกิดจาก เมา แว้น

รถมอเตอร์ไซค์สามารถเปลี่ยนชีวิตเด็กและเยาวชนไปในทางเลวร้ายได้ง่ายมาก เพราะอุบัติเหตุแต่ละครั้งก่อให้เกิดความสูญเสียมากมาย ไม่ว่าจะเป็น…..
1.บาดเจ็บเล็กน้อย แต่ต้องสูญเสียทรัพย์สินเงินทอง ต้องรักษาตัว ต้องหยุดเรียน
2.บาดเจ็บรุนแรง อาจต้องสูญเสียอวัยวะ กลายเป็นคนพิการ หรือกลายเป็นอาชญากรในชั่วพริบตา ทำให้สูญเสียโอกาสในการเรียนรู้ อยู่ในสังคมได้ยาก
3.เสียชีวิต หนักสุด รถมอเตอร์ไซค์คู่ใจ ค่าชีวิตผู้เป็นเจ้าของไปอย่างไม่ปรานี

ขับขี่แบบไหน ปลอดภัยกับชีวิต
ก่อนสตาร์ท
1.งดดื่มสุราก่อนขับขี่
2.ตรวจเช็คเลขทะเบียนท้ายรถ ป้ายวงกลม และพกใบอนุญาตขับขี่ทุกครั้ง เพื่อใช้แสดงข้อมูลของรถต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร
3.ตรวจสอบสภาพรถให้อยู่ในสภาพพร้อมขับขี่
4.สวมหมวกนิรภัยก่อนขับขี่ทุกครั้ง
5.แต่งกายด้วยเสื้อผ้า ถุงเท้า ร้องเท้า ให้รัดกุม เพื่อช่วยป้องกันไม่ให้ผิวหนังถลอก หรือเป็นแผลเมื่อเกิดอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรง
ขณะขับขี่
1.ไม่ขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ด้วยความเร็วสูง
2.ไม่บรรทุกสิ่งของหรือผู้โดยสารน้ำหนักมากเกินไป เพราะรถจะเสียการทรงตัว
3.ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด
4.ขับขี่ด้วยความระมัดระวัง
ขับขี่ปลอดภัย มีน้ำใจให้เพื่อนร่วมทาง