Home »
ไอเดีย
»
เทคนิคเลี้ยงปลาในบ่อ ไม่ยุ่งยาก ทำง่าย มีสอนทุกรายละเอียด
เทคนิคเลี้ยงปลาในบ่อ ไม่ยุ่งยาก ทำง่าย มีสอนทุกรายละเอียด
เทคนิคเลี้ยงปลาในบ่อ ไม่ยุ่งยาก ทำง่าย มีสอนทุกรายละเอียด
ปลาช่อน เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ งที่ผู้คนนิยมรับประทานกันเป็นจำนวนมาก
เพราะเนื่องจากมีรสชาติที่ดี และเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก
ซึ่งในวันนี้เราเผยเทคนิคการเลี้ยงปลาช่อนเอาไว้ให้สำหรับผู้ที่สนใจอยา
กที่จะสร้างอาชีพ แต่ไม่รู้จะเริ่มตรงไหน เลี้ยงปลาช่อนในบ่อซีเมนต์
ไม่ยุ่งยาก สร้างรายได้หลักหมื่นต่อเดือน ใครอยา
กเลี้ยงเพื่อเป็นการจำหน่าย หารายได้ที่ดีต้องดูเลยค่ะ
การเตรียมบ่อซีเมนต์สำหรับเลี้ยงปลา
บ่อซีเมนต์ควรมีหลายบ่อ เช่น บ่ออนุบาล ต้องมีขนาด 2 x 3 เมตร หรือ 2×2
เมตร ความลึกขนาดประมาณ 30 ซม.
มีหลังคาหรือสแลนคุมด้านบนเพื่อป้องกันตัวต่างๆมากินปลาช่อน
บ่อเลี้ยง ต้องมีขนาด 5×10 เมตร ลึกประมาณ 1 เมตร
แช่น้ำให้มีตะใคร่น้ำจับก่อนให้หมดกลิ่นและ ส า ร จากปูนซีเมนต์
ใส่น้ำขนาดความลึก 30 ซม
ใส่ผักตบชวาประมาณครึ่งของบ่อเพื่อเป็นการอำพรางแสง
บ่อเลี้ยงให้มีอย่างน้อย 2 ถึง 3 บ่อ เพื่อให้คัดขนาดของปลา
การอนุบาลลูกปลา
ลูกปลานั้น เราสามารถหาได้จากตามแหล่งน้ำธรรมชาติในช่วงของฤดูฝนบ้านเรา
ปลาช่อนจะมีการวางไข่ลูกปลาตัวเล็กๆขนาด 1 ถึง 2 นิ้ว
จะว่ายวนอยู่บนผิวน้ำเป็นฝูง ให้เราใช้สวิงตาถี่ตักลูกปลาช่อนเหล่านั้น
หรือท่านใดหาลูกปลาตามแหล่งธรรมชาติไม่ได้ให้หาซื้อตามร้านขายพันธุ์ปลาได้ค่ะ
เมื่อได้ลูกปลามาแล้วให้ใส่ไว้ในกะละมังใหญ่รองน้ำไว้หรือใส่ถุงที่รองน้ำไว้
แล้วใส่อ๊อกซิเจนทิ้งไว้ 1 วัน
การให้อาหารของลูกปลานั้น
เราสามารถใช้ผงของปลาดุกมาปั้นเป็นก้อนเล็กๆปริมาณ 2-3 ก้อน
วางลงในบ่ออนุบาลปลา และในสัปดาห์ถัดมาให้อาหารวันละ 2 ครั้งเช้า-เย็น
และเมื่อเวลาผ่ านไปให้อาหารเป็น จิ้ ง ห รี ด ตัวเล็กๆ ในสัปดาห์ที่ 3-4
ซึ่งลูกปลาจะมีขนาดโตประมาณ 4-5 นิ้ว
การเลี้ยงปลาใหญ่
เมื่อตัวปลาอายุครบ 1 เดือน
ให้ทำการย้ายปลาในบ่ออนุบาลลงบ่อเลี้ยงปลาใหญ่ จำนวนบ่อละ 2,000 ตัว
สามารถให้อาหารเป็น จิ้ ง ห รี ด หรือจะเป็น ห อ ย เ ช อ รี่
สับชิ้นเล็กๆได้ และเรานั้นต้องหมั่นเปลี่ยนน้ำในบ่อทุกๆ 15 วัน
โดยวิธีการปล่อยน้ำออกทางรูระบายน้ำก้นบ่อ
ปล่อยให้หมดบ่อเลยแล้วค่อยนำน้ำใหมามาใส่ในบ่อเดิม
ข้อดีสำหรับการเลี้ยงปลาในบ่อ
ทำให้เรานั้น ช่วยให้เห็นสภาพของตัวปลาได้ชัดเจนมากขึ้น
ให้เห็นถึงการเจริญเติบโตได้ดีหรือไม่ดีได้
และที่สำคัญนั้นยังง่ายสะดวกต่อการคัดขนาดของตัวปลาได้มากยิ่งขึ้น
ขอบคุณข้อมูลจาก : me-panya , Postnoname