ชาวบ้านแนะนำเหยียบกะลา ธรรมชาติบำบัด ช่วยเรื่องความดัน และเบาหวาน โดยการเหยียบกะลา

การเหยียบกะลา เป็นศาสตร์หนึ่งที่ใช้ธรรมชาติบำบัด และ รั กษ า โ ร ค ได้หลายโ ร ค บางคนมองข้ามไปคิดว่าจะต้องไปนวดสปา นวดจับเส้น ซึ่งพยายามไปกี่ครั้งก็ไม่ดีขึ้น ลืมนึกไปว่า ตาสีตาสาแถวบ้าน เดินเหยียบกะลาอยู่บ่อยๆ ก็เห็นแข็งแรงดีเลยไปสอบถามเหล่าๆ ท่านๆ ทั้งหลาย

กลุ่ม โ ร ค เกี่ยวกับการเผาผลาญอาหาร ซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน น้ำตาลในเลือดสูงก่อให้เกิดอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและความหิวเพิ่มขึ้น

หากไม่ได้รับการ รั ก ษ า เบาหวานอาจก่อให้เกิดอาการแทรกซ้อนจำนวนมาก ฉะนั้นแล้วเราจึงต้องดูแลรักษษตัวอย่างไม่ขาดทานยาเป็นประจำและอีกหนึ่งทางที่จะช่วยทุเลาอาการได้นั้นคือการบำ บั ดแบบธรรมชาติ โดยการเหยียบกะลาไปดูรายละเอียดด้านล่างกันเลยค่ะ

เป็นศาสตร์หนึ่งที่ใช้ธรรมชาติบำ บั ด และ รั ก ษ า โ ร ค ได้หลาย โ ร ค บางคนมองข้ามไปคิดว่าจะต้องไปนวดสปา นวดจับเส้น หรือว่าได้รับอาหารดี ๆ หรือจะเป็นอาหารเสริมต่าง ๆ สิ่งเหล่านั้นก็ถือว่าดีเหมือนกัน

แต่ในความเป็นจริงแล้วเราจะทำได้ไหมที่จะต้องไปนวดสปา ซึ่งราคาค่อนข้างแพง หรืออาจจะไม่มีเวลาไปนวดจับเส้น

หรือบางคนอาจจะไม่มีเงินพอที่จะซื้ออาหารเสริมราคาแพง ๆ มาบำรุงร่างกาย แต่การเหยียบกะลานั้น สามารถทำได้ทุก ๆ วัน เพียงแค่ใช้เวลากับมันสักเล็กน้อย เราก็จะได้สุขภาwเ้ท้า สุขภาwกายที่ดีกลับคืนมาโดยที่ไม่จำเป็นต้องเสียเงินทองเลย

สามารถฟื้นฟูผู้ ป่ ว ย เบาหวาน และ โ ร ค ความ ดั น โ ล หิ ต สูงได้ ซึ่งมีรายงานจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาwตำบลตากูก จังหวัดสุรินทร์ จากผู้ ป่ ว ย ที่เคยทำแผลที่เท้า หลังจากที่ใช้ให้ผู้ ป่ ว ย เหยียบกะลา ก็จะทำให้ผู้ ป่ ว ย รู้สึกดีขึ้น ลดการทำแผลได้มาก 75 % และลดอาการชาไปเรื่อย ๆ 25 %

กะลาที่ใช้ควรเลือกกะลาที่มีก้นแหลมพอสมควรเพื่อเท้าเราจะได้สัมผัสกับส่วนที่แหลม ทำให้ช่วยผ่อนคลายจุดต่าง ๆ บริเวณอุ้งเท้ากะลาควรเลือกสถานที่ในการวางให้เหมาะสม กะลาควรวางในที่ที่แน่น ไม่คลอนแคลน ควรวางบนพื้นดินทราย

หรือเย็บติดกับพื้นพรม ไม่ควรวางบนพื้นปูน หรือพื้นที่แข็ง เพราะจะทำให้ลื่นได้ง่ายอาจทำให้เกิดอันตรายในการเหยียบได้สำหรับการขึ้นไปเหยียบกะลานั้น

ควรหาอุปกรณ์ในการยึดจับให้มั่น เพื่อจะได้ไม่เป็นอันตรายในระหว่างการเหยียบกะลา อาจจะเป็นราวไม้ หรือว่าวางกะลาไว้ใกล้ ๆ โต๊ะ ใกล้ ๆ ผนังกำแพงบ้านไว้สำหรับจับ เพื่อป้องกันการล้มได้การเหยียบกะลา หากผู้ที่ยังยืนไม่แข็งแรง ก็ควรใช้เก้าอี้ในการนั่งก่อน แล้วค่อย ๆ พัฒนาในการยืนต่อไป

สามารถฟื้นฟูผู้ ป่ ว ย เบาหวาน และ โ ร ค ความ ดั น โ ล หิ ต สูงได้ ซึ่งมีรายงานจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาwตำบลตากูก จังหวัดสุรินทร์ จากผู้ ป่ ว ย ที่เคยทำแผลที่เท้า หลังจากที่ใช้ให้ผู้ ป่ ว ย เหยียบกะลา

ก็จะทำให้ผู้ ป่ ว ย รู้สึกดีขึ้น ลดการทำแผลได้มาก 75 % และลดอาการชาไปเรื่อย ๆ 25 % กะลาที่ใช้ควรเลือกกะลาที่มีก้นแหลมพอสมควรเพื่อเท้าเราจะได้สัมผัสกับส่วนที่แหลม ทำให้ช่วยผ่อนคลายจุดต่าง ๆ บริเวณอุ้งเท้ากะลาควรเลือกสถานที่ในการวางให้เหมาะสม กะลาควรวางในที่ที่แน่น ไม่คลอนแคลน

ควรวางบนพื้นดินทราย หรือเย็บติดกับพื้นพรม ไม่ควรวางบนพื้นปูน หรือพื้นที่แข็ง เพราะจะทำให้ลื่นได้ง่ายอาจทำให้เกิดอันตรายในการเหยียบได้สำหรับการขึ้นไปเหยียบกะลานั้น ควรหาอุปกรณ์ในการยึดจับให้มั่น เพื่อจะได้ไม่เป็นอันตรายในระหว่างการเหยียบกะลา อาจจะเป็นราวไม้

หรือว่าวางกะลาไว้ใกล้ ๆ โต๊ะ ใกล้ ๆ ผนังกำแพงบ้านไว้สำหรับจับ เพื่อป้องกันการล้มได้การเหยียบกะลา หากผู้ที่ยังยืนไม่แข็งแรง ก็ควรใช้เก้าอี้ในการนั่งก่อน แล้วค่อย ๆ พัฒนาในการยืนต่อไป

กับ โ ร ค เบาหวาน ความ ดั น โ ล หิ ต สูง เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่ช่วยบรรเทาอาการ หากเราดูแลร่างกาย ดูแลสุขภาwของเราอย่างสม่ำเสมอ โ ร ค นั้นก็คงจะค่อยๆทุเลา